ดปล.คซง.อดูซ.df.Ji. ด์ปาล.ค์ซัง.อ์ดุซ์.ร๋โด.ร๋เจ. จีนเรียกมิกจิบกิมกังสันสกฤตเรียกกูฮยาสมัชชา องค์ยิดัมในการปฏิบัติอนุตระตันตระในหมวดตันตระพ่อซึ่งเป็นหนึ่งในห้าขององค์ยิดัม อันมีเหวัชระ กาลจักรจักรสัมวารายามานตกะและชื่อจีนไต้เอาฮ่วยกิมกัง สีวรกายเปลี่ยนไปตามปางที่ปรากฎสีแดงบ้างสีน้ำเงินเข้มบ้างเป็นต้น
ในภาพทังกาบนสุดตรงกลางเป็นคุรุนาครชุนโพธิสัตว์ ด้านล่างเป็นมหากาลดำ ซังดุสโดเจมีสามหัวหกแขนสามตาหน้ากลางสีน้ำเงินเข้ม หน้าขวาขาวหน้าซ้าย แดงเปรียบดังตรีกายหรือกาลทั้งสาม สองมือด้านหน้าขวาถือวัชระ ซ้ายถือกระดิ่ง ในปางยับยัม สี่มือ ด้านบนจากขวาถือธรรมจักรมือ ที่สองถือดอกบัว มือ ที่สามถือกระบี ่มือที่สี่ถือจินดามณี กระดิ่งและวัชระเป็นสัญลักษณ์ของตระกูลวัชระ ธรรมจักรตระกูลพุทธ ดอกบัวตระกูลปัทม กระบี่ ตระกูลกรรมะ จินดามณีตระกูลรัตนะ ทั้งห้าสิ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งพุทธ5ตระกูล(โหงวฮึงฮุก ) องค์ศักติถือ สิ่งของเช่นเดียวกัน ทั้งสององค์สวมมงกุฎรูปพุทธเจ้าทั้งห้าพระองค์ สวมอาภรณ์สัมโภคกาย นั่งในลักษณะวัชรอาสน์บนแท่นบัว วัชระและกระดิ่งเปรียบดังพระปัญญาอันกระจ่างใส แข็งแกร่งเฉียบคมขององค์อักโษภยพุทธเจ้า ธรรมจักรเปรียบดังพระปัญญาอันมั่นคงไพศาล สงบหนักแน่นของพระไวโรจนพุทธเจ้า ดอกบัวเปรียบดังพระปัญญาธรรมชาติอันบริสุทธิ์เบิกบาน มุ่งมั่นสู่การบรรลุของพระอมิตาภะพุทธเจ้า กระบี่เปรียบดังพระปัญญาแห่งการกระทำอันสมบูรณ์ พร้อมการบรรลุความสำเร็จตามธรรมชาติแห่งการกระทำของพระอโมฆสิทธิพุทธเจ้า จินดามณี เปรียบดังพระปัญญาซึ่งเป็นสิ่งมีค่าทั้งมวลความร่ำรวย มั่งคั่ง ความแผ่ขยายออกสู่พื้นที่ว่างเปล่า และอุเบกขาฌานของพระรัตนสัมภวะพุทธเจ้า
อานิสงส์แห่งการปฏิบัติตันตระซังดุสโดเจเพื่อ การแปรเปลี่ยนธาตุพิษทั้งห้าให้กลายเป็นปัญญาฌานทั้งห้า พิษทั้งห้าประกอบไปด้วย 1 โทสะ ลุ่มหลงทนงตนจนกลายเป็นความคับแคบ 2 อวิชชาทั้งมวล ความมั่นคงสงบอันชาด้าน 3 ตัณหาความทะยานอยาก การล่อลวง 4 ความริษยา ความเดือดเนื้อร้อนใจ การเปรียบเทียบ 5 การโอ้อวด การเบ่งพองจนไม่สามารถควบคุมได้ พระปัญญาทั้งห้าเกิดได้จากการปฏิบัติโดยไม่เลือกเวลา ไม่เลือกสถานที่ และไม่เลือกสถานะ
ในภาพทังกาบนสุดตรงกลางเป็นคุรุนาครชุนโพธิสัตว์ ด้านล่างเป็นมหากาลดำ ซังดุสโดเจมีสามหัวหกแขนสามตาหน้ากลางสีน้ำเงินเข้ม หน้าขวาขาวหน้าซ้าย แดงเปรียบดังตรีกายหรือกาลทั้งสาม สองมือด้านหน้าขวาถือวัชระ ซ้ายถือกระดิ่ง ในปางยับยัม สี่มือ ด้านบนจากขวาถือธรรมจักรมือ ที่สองถือดอกบัว มือ ที่สามถือกระบี ่มือที่สี่ถือจินดามณี กระดิ่งและวัชระเป็นสัญลักษณ์ของตระกูลวัชระ ธรรมจักรตระกูลพุทธ ดอกบัวตระกูลปัทม กระบี่ ตระกูลกรรมะ จินดามณีตระกูลรัตนะ ทั้งห้าสิ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งพุทธ5ตระกูล(โหงวฮึงฮุก ) องค์ศักติถือ สิ่งของเช่นเดียวกัน ทั้งสององค์สวมมงกุฎรูปพุทธเจ้าทั้งห้าพระองค์ สวมอาภรณ์สัมโภคกาย นั่งในลักษณะวัชรอาสน์บนแท่นบัว วัชระและกระดิ่งเปรียบดังพระปัญญาอันกระจ่างใส แข็งแกร่งเฉียบคมขององค์อักโษภยพุทธเจ้า ธรรมจักรเปรียบดังพระปัญญาอันมั่นคงไพศาล สงบหนักแน่นของพระไวโรจนพุทธเจ้า ดอกบัวเปรียบดังพระปัญญาธรรมชาติอันบริสุทธิ์เบิกบาน มุ่งมั่นสู่การบรรลุของพระอมิตาภะพุทธเจ้า กระบี่เปรียบดังพระปัญญาแห่งการกระทำอันสมบูรณ์ พร้อมการบรรลุความสำเร็จตามธรรมชาติแห่งการกระทำของพระอโมฆสิทธิพุทธเจ้า จินดามณี เปรียบดังพระปัญญาซึ่งเป็นสิ่งมีค่าทั้งมวลความร่ำรวย มั่งคั่ง ความแผ่ขยายออกสู่พื้นที่ว่างเปล่า และอุเบกขาฌานของพระรัตนสัมภวะพุทธเจ้า
อานิสงส์แห่งการปฏิบัติตันตระซังดุสโดเจเพื่อ การแปรเปลี่ยนธาตุพิษทั้งห้าให้กลายเป็นปัญญาฌานทั้งห้า พิษทั้งห้าประกอบไปด้วย 1 โทสะ ลุ่มหลงทนงตนจนกลายเป็นความคับแคบ 2 อวิชชาทั้งมวล ความมั่นคงสงบอันชาด้าน 3 ตัณหาความทะยานอยาก การล่อลวง 4 ความริษยา ความเดือดเนื้อร้อนใจ การเปรียบเทียบ 5 การโอ้อวด การเบ่งพองจนไม่สามารถควบคุมได้ พระปัญญาทั้งห้าเกิดได้จากการปฏิบัติโดยไม่เลือกเวลา ไม่เลือกสถานที่ และไม่เลือกสถานะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น